growl

ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่บล๊อควิชาสังคมศึกษา

วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บทที่8 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ อ่านต่อ

บทที่7 สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิขั้นพื้นฐานที่พึงมีโดยเสมอภาคกัน เพื่อการดำรงชีวิตได้อย่าง มีศักดิ์ศรีมีโอกาสเท่าเทียมกันในการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ อ่านต่อ

บทที่6 กฏหมาย

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย
1.   ความหมายของกฎหมาย กฎหมาย คือ  กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น  หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ อ่านต่อ


บทที่5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองและวิธีการดำเนินชีวิต ซึ่งยึดหลักของความเสมอภาค เสรีภาพและศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ การปกครองระบอบประชาธิปไตย อ่านต่อ

บทที่ 4 พลเมืองดี

เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น หรือไม่กระทำความผิดตามที่กฎหมายกำหนดก็จะทำให้รัฐไม่ต้องเสียงบประมาณในการป้องกัน  ปราบปรามและจับกุมผู้ที่กระทำความผิดมาลงโทษ อ่านต่อ 



บทที่3 วัฒนธรรม

วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่มนุษย์สร้างขึ้นในแต่ละสังคม ซึ่งแต่ละสังคมจะต้องมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามความหมายของวัฒนธรรมไว้ 2 นัย ดังนี้ อ่านต่อ

บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม

สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว อ่านต่อ 

บทที่1 สังคม

   โครงสร้างทางสังคม คือ ระบบความสัมพันธ์ของกลุ่มคนในสังคม ที่มารวมตัวกันเป็นกลุ่มสังคม
  1.กลุ่มปฐมภูมิ หมายถึง  กลุ่มสังคมที่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดสนิทสนมกัน
  2.กลุ่มทุติยภูมิ   หมายถึง  กลุ่มสังคมที่มีความสัมพันธ์กันแบบเป็นทางการ  อ่านต่อ